ภัย แล้ง ปี 63 — รับมือภัยแล้งปี 63 รุนแรง ฝนตกน้อยทิ้งช่วงนาน ประปาไหลอ่อน กระทบคนกรุง

กล่าวในที่ประชุมว่าได้รับแจ้งจากจีนว่าจะมีการลดการระบายน้ำจากเขื่อนในจีนลงครึ่งหนึ่งจาก 1, 200-1, 300 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และระดับน้ำในแม่น้ำโขงจะลดลงราว 30-60 เซนติเมตร หรืออาจจะมากกว่าเมื่อผ่านเขื่อนไซยะบุรี ซึ่งใกล้กับแม่น้ำโขงในไทยที่ จ. เลย เลขาธิการ สทนช. ได้เสนอให้ทางกรมทรัพยากรน้ำเป็นเจ้าภาพในการเก็บข้อมูลคุณภาพน้ำ ระดับน้ำ และปริมาณตะกอนในแม่น้ำโขง เพื่อเป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ในการแจ้ง สปป. ลาว ให้ทราบถึงภาวะแม่น้ำโขงในส่วนของประเทศไทย

  1. เงินช่วยเหลือชาวนาภัยแล้งปี62/63#6-11-62 - YouTube
  2. ภัยแล้งฉุดอ้อยปี 63/64 วูบเหลือไม่เกิน 70 ล้านตัน - สำนักข่าวไทย อสมท
  3. เกษตรฯ ร่างแผนบรรเทาสาธารณภัยรับมือแล้ง63/64
  4. “สทนช.”‘แจงเกณฑ์ประกาศภัยแล้งปี 63/64 ไม่บิดเบือนยัน “บิ๊กป้อม” สั่งเร่งแผนช่วยเหลือนาข้าวหลังประสบภาวะฝนทิ้งช่วง – สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ

เงินช่วยเหลือชาวนาภัยแล้งปี62/63#6-11-62 - YouTube

ภัย แล้ง ปี 63 km
  • ภ งด 1 excel cell
  • วิกฤติภัยแล้ง ปี 63 ส่อ...รุนแรง ยาวนานขึ้น - ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
  • สูตรgta - สูตร GTA san Andreas - GRAND THEFT AUTO
  • หวยแม่จำเนียร 16/12/63 - Lekded-Huay
  • Suzuki 200cc ราคา มือสอง
  • สาเหตุของนิ้วล็อค
  • ควีนอังกฤษ พระราชทานเหรียญกล้าหาญให้ 'จอห์น โวลันเธน' ฮีโร่ถ้ำหลวง
  • ไทยเผชิญภัยแล้งหนัก พืชเศรษฐกิจปี 63 คาดเสียหาย 2.6 หมื่นลบ.
  • ภัย แล้ง ปี 63 amg
  • ภัย แล้ง ปี 63 http
  • ยาง michelin กระบะ

ภัยแล้งฉุดอ้อยปี 63/64 วูบเหลือไม่เกิน 70 ล้านตัน - สำนักข่าวไทย อสมท

ค. -ก. 2564 ด้วย ซึ่งการบริหารจัดการน้ำเป็นไปตามแผนที่วางไว้ แม้ในบางพื้นที่มีเกษตรกรปลูกข้าวนาปรังเกินเป้าหมายบ้าง แต่ก็ไม่ได้รับความเสียหาย ประกอบกับฝนในปีนี้ตกเร็วกว่าปกติ ทำให้มีน้ำต้นทุนเข้ามาหล่อเลี้ยงพื้นที่การเกษตร หลายพื้นที่จึงพ้นจากปัญหาขาดแคลนน้ำ" ดร. สมเกียรติกล่าวเลขาธิการ สทนช. กล่าวต่อว่า จากกรณีที่ฝนในปีนี้มาเร็วกว่าปกติ และตกหนักตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 ทำให้เกษตรกรส่วนหนึ่งได้เริ่มทำการเกษตร โดยเฉพาะการทำนาปีซึ่งเร็วกว่าทุกปี โดยเฉพาะพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ซึ่งในปัจจุบันพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยามีปริมาณน้ำต้นทุนน้อยแล้วฝนยังตกน้อยด้วย ส่งผลให้เกษตรกรที่เริ่มทำการเพาะปลูกฤดูฝนปี 2564 ได้รับผลกระทบการขาดแคลนน้ำ กอนช. จึงได้มอบหมายให้ กรมชลประทาน กฟผ. เพิ่มการระบายน้ำจากเขื่อนเพื่อบรรเทาภาวะขาดแคลนน้ำ พร้อมทั้งติดต้ั้งเครื่องสูบน้ำช่วยสูบช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากการขาดแคลนน้ำ โดยเฉพาะกรมชลประทานขณะนี้ได้เตรียมเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ เพื่อช่วยเหลือพื้นที่นาปี น้ำอุปโภค-บริโภค และพืชไร่"สถานการณ์น้ำของประเทศล่าสุด (15 มิ. 64) มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทยและอ่าวไทยเริ่มมีกำลังอ่อนลง ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณประเทศไทยยังคงมีฝนฟ้าคะนองเกิดขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่งในภาคเหนือ ทั้งนี้ กอนช.

เกษตรฯ ร่างแผนบรรเทาสาธารณภัยรับมือแล้ง63/64

เผยแพร่: 17 ม. ค. 2563 16:51 โดย: ผู้จัดการออนไลน์ สถานการณ์ภัยแล้งในฤดูกาลปี 2563 (มกราคม-เมษายน 2563) ได้เกิดขึ้นเร็วกว่าปีก่อน และส่อเค้าความรุนแรง ยาวนานมากขึ้น จากปริมาณน้ำในเขื่อนที่ลดลงร้อยละ 33. 1 (YoY) ซึ่งเป็นการลดลงในแทบทุกภาคของประเทศ และยังเป็นระดับน้ำที่วิกฤติกว่าปี 2558 ที่เกิดภัยแล้งรุนแรงอีกด้วย  ข้าว มันสำปะหลัง และอ้อย เป็นพืชฤดูแล้งที่ได้รับผลกระทบจากผลผลิตเสียหายหนักที่สุด ซึ่งอาจช่วยผลักดันราคาพืชฤดูแล้งกลุ่มนี้ให้ปรับตัวขึ้นได้ในระยะสั้น แต่ด้วยแรงฉุดด้านผลผลิตที่ลดลง จะเป็นปัจจัยฉุดรายได้เกษตรกรในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2563 ให้หดตัวอยู่ในกรอบร้อยละ 0. 5-1. 0 (YoY) ซึ่งนอกจากภัยแล้งจะกระทบต่อภาคการผลิตในประเทศแล้ว ยังส่งผลต่อเนื่องถึงภาคการส่งออกที่อาจขาดแคลนผลผลิตเพื่อการส่งออก ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงที่ความต้องการในตลาดโลกชะลอตัวลง  ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ผลกระทบในเบื้องต้นของสถานการณ์ภัยแล้งในปี 2563 อาจทำให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจราว 17, 000-19, 000 ล้านบาท หรือคิดเป็นราวร้อยละ 0. 10-0. 11 ของ GDP ทั้งนี้ ยังต้องติดตามระดับความรุนแรงของภัยแล้งโดยเฉพาะในเดือนมีนาคม-เมษายน และระยะเวลาการเกิดภัยแล้งที่อาจลากยาวไปในช่วงแล้งนอกฤดูกาล จนไปกระทบต่อภาพรวมความสูญเสียทางเศรษฐกิจทั้งปีนี้ให้อยู่ในภาวะวิกฤติมากขึ้น เป็นเรื่องที่น่ากังวลใจไม่น้อย สำหรับสถานการณ์ภัยแล้งในฤดูปี 2563 ที่ในขณะนี้ได้เกิดขึ้นเร็วกว่าปีก่อน (ฤดูร้อนปี 2562 ตามประกาศของกรมอุตุนิยมวิทยาคือ ตั้งแต่วันที่ 22 ก.

3 ล้านไร่ และมีพื้นที่เพาะปลูกที่อยู่ในเขตที่มีปริมาตรน้ำในเขื่อนอยู่ระดับเกณฑ์น้ำน้อยถึงน้ำน้อยวิกฤติ (<=50%) สูงถึง 92. 1 ล้านไร่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 90 ของพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญทั้งประเทศ ประกอบด้วย ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ซึ่งหากฝนทิ้งช่วงนาน ก็จะกระทบกับผลผลิตของข้าวนาปรัง อ้อย และมันสำปะหลัง ซึ่งมีช่วงฤดูเก็บเกี่ยวในเดือน ม. -เม. 2563 รวมทั้งผลกระทบต่อน้ำเพื่ออุปโภคบริโภค และพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม ทั้งนี้จากสถานการณ์ภัยแล้งที่เกิดขึ้น คาดว่าจะมีเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ 2, 930, 673 ราย และคาดว่าพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญ ได้แก่ ข้าวนาปรัง อ้อย และมันสำปะหลัง จะปรับลดลงอยู่ที่ 27. 7 ล้านไร่ ลดลงจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ -12. 9 ส่วนผลผลิตทั้งหมดคาดว่าจะปรับลดลงอยู่ที่ 115. 8 ล้านตัน ลดลงจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ -31. 6 โดยแบ่งออกเป็นข้าวนาปรัง 4. 8 ล้านตัน ลดลงจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ -32. 9, อ้อย 85. 0 ล้านตัน ลดลงจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ -35. 1 และมันส้าปะหลัง 26. 0 ล้านตัน ลดลงจากปีก่อนอยู่ที่ร้อยละ -16. 3 ซึ่งส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้ลดลงจนกระทบต่อกำลังซื้อเพื่อการอุปโภคบริโภค รวมทั้งความสามารถในการชำระหนี้ลดลง และส่งผลต่อเนื่องไปยังผู้ประกอบการที่ทำธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับภาคเกษตร เช่น ธุรกิจ ขายอุปกรณ์ทางการเกษตร เมล็ดพันธ์ ปุ๋ย ยากำจัดศัตรูพืช เป็นต้น ให้มีรายได้ลดลง การบริโภคลดลง และกระทบต่อการขยายทางเศรษฐกิจของไทย ทั้งนี้ศูนย์วิจัยธนาคารออมสินคาดว่า มูลค่าความเสียหายผลผลิตของพืชเศรษฐกิจสำคัญอยู่ที่ 26, 012 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2.

“สทนช.”‘แจงเกณฑ์ประกาศภัยแล้งปี 63/64 ไม่บิดเบือนยัน “บิ๊กป้อม” สั่งเร่งแผนช่วยเหลือนาข้าวหลังประสบภาวะฝนทิ้งช่วง – สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ

ภัย แล้ง ปี 63 puy de dome

ค. – พ. 2563 โดยสำรวจพื้นที่เสี่ยง แจ้งเตือนข่าวสาร สถานการณ์แล้ง การขาดแคลนน้ำ เยี่ยมเยียน ติดตามให้คำแนะนำทางวิชาการในการดูแลรักษาสวน การให้น้ำ ลดการใช้ปุ๋ย เพื่อป้องกันความเค็มสร้างความเสียหายแก่พืช แนะนำให้เกษตรกรรักษาความชื้นในแปลง เช่น ลอกดินเลนในร่องสวนมาปิดบนแปลงหรือโคนต้น การใช้วัสดุคลุมดินช่วยให้ประหยัดน้ำ และการตัดแต่งกิ่ง เป็นต้น 2. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ "เกษตรร่วมใจรับมือภัยแล้ง ปี 2563" ดำเนินการช่วงเดือน ม. 2563 ใน 77 จังหวัด เป็นการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ในทุกด้านเพื่อรับมือภัยแล้ง โดยจัดทำสื่อแจ้งสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับภัยแล้ง การช่วยเหลือต่างๆ ของโครงการรัฐ การปรับตัวในการดูแลรักษาพืชช่วงฤดูแล้งด้วยวิธีการที่ถูกต้อง การสำรองน้ำ การใช้น้ำอย่างประหยัด สถานการณ์น้ำเค็มและการเฝ้าระวังป้องกันปฏิบัติตามแผน โดยเสนอกรณีตัวอย่างเกษตรกรในพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จในการรับมือกับภัยแล้ง การเผยแพร่ตามช่องทางสื่อต่างๆ เพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงข้อมูลและบริการของรัฐ รวมทั้งมีข้อมูลในการปฏิบัติสำหรับสถานการณ์แล้ง 3. โครงการบูรณาการกิจกรรมและความร่วมมือในพื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้ำนอกเขตชลประทานเพื่อส่งเสริมการสร้างรายได้แก่เกษตรกร ดำเนินการช่วงเดือน ม.

อีกแล้ว แต่เป็นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง และกำลังจะเข้าสู่การเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่น การจะใช้เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงไปคุม ไปห้ามสูบน้ำ จึงไม่ใช่เรื่องง่ายเหมือนครั้งนั้นแน่นอน และอาจจะไม่เกิดขึ้นด้วย ดังนั้น ยุทธศาสตร์คือ รักษาน้ำที่มีอยู่ "น้อยนิด" ในลุ่มเจ้าพระยาไว้อย่างดีที่สุด แต่จะทำได้อย่างไร เพราะลำพังแค่รักษาน้ำเพื่อกิน เพื่อใช้ก็ยากอยู่แล้ว จากปัญหา "ความเค็มของน้ำประปา" เพราะมีน้ำจืดน้อยเกินไปจนไม่สามารถผลักดันน้ำทะเลได้ในหลายพื้นที่ เช่น เมื่อวันที่ 27-28 ธ. ที่ผ่านมา น้ำทะเลหนุนสูงรุกเข้าแม่น้ำเจ้าพระยา ก็ต้องระบายน้ำจืดเพิ่มจากแผนที่วางไว้เพื่อผลักดันน้ำเค็มมารอบหนึ่งแล้ว เสียน้ำไปอีก หรือการผลิตน้ำประปาที่ จ. ลพบุรี ก็มีปัญหามาตลอดเพราะน้ำจืดที่ระบายลงมาหายไประหว่างวทาง จนไม่พอที่จะผลิตประปา และผลกระทบจากการถูกน้ำเค็มรุกเพราะน้ำจืดมีน้อยเกินไปในเวลานี้ กำลังส่งผลต่อ "สวนทุเรียนเมืองนนท์" และกำลังจะเกิดผลกระทบในเวลาอันใกล้กับผักสวนครัวแหล่งใหญ่ที่ อ. บางเลน จ. นครปฐม ถ้าไม่สามารถผลักดันน้ำเค็มได้ทัน ถ้าดูค่า "คุณภาพน้ำ" ที่บริเวณสถานีผลิตน้ำประปาแหล่งต่างๆ ก็จะพบว่า เกินมาตรฐานไปมาก ทั้งที่จุดท่าน้ำนนทบุรี และท่าน้ำกรมชลประทาน สามเสน ค่าความเค็มสูงกว่ามาตรฐานไปไกลถึง 4-5 กรัมต่อลิตร ส่วนที่จุดปากคลองสำแล จ.

กรุงเทพฯ 31 ก. ค. – ผลผลิตอ้อยฤดูกาลผลิตปี 63/64 กระทบหนักจากฝนแล้งต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ชาวไรอ้อยบางส่วนเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง เพราะเห็นว่าราคาดี ส่งผลกระทบผลผลิตเบื้องต้นปีนี้ลดลงเหลือ 70 ล้านตันอ้อย นายวิฤทธิ์ วิเศษสินธุ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย เปิดเผยสำนักข่าวไทยว่า ทางคณะกรรมการอ้อยคาดการณ์ผลผลิตอ้อยฤดูกาลผลิตปี 2563/2564 ที่จะเก็บเกี่ยวปีหน้านั้น ผลจากภัยแล้งต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 และไทยปลูกอ้อยประมาณร้อยละ 80 เป็นการปลูกที่ต้องอาศัยน้ำจากฝน จึงคาดว่าผลผลิตอ้อยในภาพรวมจะยังคงลดลงต่อเนื่องเหลือประมาณ 65-70 ล้านตันอ้อย หรือคิดเป็นผลผลิตน้ำตาลประมาณ 7.

October 4, 2022